J-doradic.com เว็บ ดิกไทย – ญี่ปุ่น ดิกญี่ปุ่น – ไทย ที่ดีที่สุด

เลือกหมวดหมู่
ความหมาย

ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้นบทที่ 20

第20課 
                   จากบทที่แล้วที่เราเรียนรู้ในเรื่องของรู้แสดงความต้องการจากคำกริยาต่างๆที่ได้ให้ไว้นะครับ ในครั้งนี้ยังคงเกี่ยวเนื่องกับเรื่องของคำกริยา แต่จะเป็นเรื่องของการผันรูปของคำกริยาครับ แต่ก่อนอื่นเรามาทวนคำศัพท์ที่เคยเรียนมาแล้วก่อนครับ เพราะในเบื้องต้นคำศัพท์นี่สำคัญจริงๆ

No

คำศัพท์

คำอ่าน

คำแปล

1

สถานที่(E) (I)きます(kimasu)

อิคิมัส

ไป

2

สถานที่(E) (Ki)ます(Masu)

คิมัส

มา

3

 สถานที่(E) (Kae)ります(rimasu)

คาเอริมัส

กลับ

4

(Da)します(shimasu)

ดาชิมัส

ส่ง

5

คน (To) 結婚(Kekkon)します(Shimasu)

เก็กคงชิมัส

แต่งงาน

6

(ka)います(imasu)

ไคมัส

ซื้อ

7

(Ta)べます(bemasu)

ทาเบะมัส

กิน

8

(No)みます(mimasu)

โนมิมัส

ดื่ม

9

 たばこを(Tabako Wo) (Su)います(imasu)

ซุอิมัส

สูบ

10

(Ki)きます(kimasu)

คิคิมัส

ฟัง

11

(Yo)みます(mimasu)

โยมิมัส

อ่าน

12

(Mi)ます(masu)

มิมัส

ดู

13

写真(Shashin) (Wo) (To)ります(rimasu)

ฉะชินโอะ โทริมัส

ถ่ายรูป

14

(Ka)きます(kimasu)

คาคิมัส

เขียน

15

(Yasu)みます(mimasu)

ยาสุมิมัส

พัก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ในครั้งนี้จะเป็นการผันคำกริยาให้เปลี่ยนเป็นรูป ~てForm นะครับ แต่ก่อนอื่นที่เราจะได้รู้ว่าการผันรูปกริยาเป็น ~てForm เอาไปทำอะไรนั้น ก่อนอื่นเราต้องผันรูปกันให้คล่องเสียก่อนครับ

                   ตารางด้านล่างนี้จะเป็นกฎของการผันกริยารูป ~て นะครับ ก่อนอื่นเรามาดุคร่าวๆกันก่อน

ดูแล้วเป็นยังไงกันมั่งครับ พอที่จะเข้าใจกันบ้างไหมครับ  กฎในการเปลี่ยนรูป ในภาษาญี่ปุ่นเราจะแบ่งคำกริยาออกเป็น 3 กลุ่มซึ่งแบ่งจากคำสุดท้ายที่อยู่ในแต่ละคำกำก่อนที่จะถึง ます ในที่นี้จะขอพูดถึงกลุ่มที่ 3 ก่อนนะครับเนื่องจากเป็นกลุ่มที่ง่ายที่สุด กลุ่มที่ 3 นี้จะมีคำกริยาเพียง 2 ตัวเท่านั้นสามารถจำไปได้เยนะครับคือคำว่า

 

します(ทำ)  จะผันเป็น して

きます(มา)               จะผันเป็น きて

ต่อมาในส่วนของคำกริยากลุ่มที่ 2 เราจะจับกลุ่มคำกริยาที่ลงท้ายด้วยเสียง +ます      อาทิเช่น たべます(กิน) เราจะตัด ますออกและใส่ไปได้เลย ตัวอย่างเช่น

たべます(กิน)          จะผันเป็น           たべ

ます(นอน)  จะผันเป็น          

おしえます(สอน         )จะผันเป็น          おしえ

 

 

ในกลุ่มที่ 2 นี้ ยังมีคำยกเว้นต่างๆอีกจำนวนนึงนะครับ ยังไงรู้สึกว่าแค่นี้คงจะเริ่มงงกันแล้วเอาเป็นว่าจากตารางนี้ลองดูดีๆ แล้วลองคิดดูนะครับว่ากลุ่มที่ 1 จะมีกฎในการผันยังไงนะครับ แล้วในครั้งหน้าผมจะกลับมาบอกในเรื่องของตัวยกเว้นและกฎต่างๆของกลุ่มที่ 1 นะครับ

 

Onitsuka

鬼塚先生 

 

บทก่อนหน้านี้ 

บทต่อไป